แชร์

Lung Cancer

อัพเดทล่าสุด: 22 ส.ค. 2024
14642 ผู้เข้าชม

ความรู้จากกรมการแพทย์ โดยสถาบันมะเร็งแห่งชาติชี้แจงว่า โรคมะเร็งปอดมีผู้ป่วยที่เป็นเยอะมากและเสียชีวิตเป็นอันดับ2ของคนไทย

สาเหตุหลักที่ทำให้เสี่ยงต่อการเกิด..โรคมะเร็งปอด

1.สูบบุหรี่(เสี่ยงสูง)

2.ทำงานในมลภาวะเสีย มีความเสี่ยง

3.เคยเป็นโรคที่เกี่ยวกับปอดอักเสบนานๆเช่น
    -โรคถุงลมโป่งพองนานๆ
    -ปอดเป็นพังผืดนานๆ

    -ปอดติดเชื้อนานๆ

ลักษณะเหล่านี้ทำให้เพิ่มโอกาสการเกิดโรคมะเร็งปอดได้

สัญญาณเตือน...โรคมะเร็งปอด

-อาการไอเรื้อรังเกิน 2 อาทิตย์ควรรีบพบแพทย์
-ไอมีเลือดปนออกมาด้วย
-เจ็บหน้าอกหน่วงๆมากกว่าปกติ(เพราะถ้ามีก้อนที่ปอดเมื่อ--มีอาการอักเสบจะทำให้เจ็บหน้าอก)
-เหนื่อยมากขึ้น
-เบื่ออาหาร น้ำหนักลด(อาการคนเป็นมะเร็งทั่วไป)
-มีอาการบวมที่ใบหน้าหรือคอ
-ไข้เรื้อรัง 1-2 อาทิตย์ไม่หาย ให้พบแพทย์


 แนวทางการรักษา...โรคมะเร็งปอด

เราแบ่งโรคมะเร็งปอดเป็น 2 ระยะ คือ

1.ระยะเริ่มต้น
2.ระยะลุกลาม

ส่วนแนวทางการรักษาโรคมะเร็งปอดนั้น ระเริ่มต้น หรือระยะที่1 จะใช้วิธีผ่าตัดเอาก้อนเนื้อออก ตามด้วยการให้เคมีบำบัด เพื่อป้องกันไม่ให้โรคมะเร็งปอดกลับมาเป็นซ้ำอีก

ส่วนแนงทางการรักษาโรคมะเร็งปอดระยะลุกลามนั้น จะใช้ยา ในปัจจุบันการรักษามะเร็ง สามารถใช้ยามุ่งเป้าได้ ไม่ต้องให้เคมีบำบัด ยามุ่งเป้าส่วนใหญ่เป็นยาเม็ด กินเพื่อให้ก้อนมีขนาดเล็กลงมากที่สุด เมื่อก้อนเล็กลงมากอาการไอก็จะน้อยลง อาการเบื่ออาหารน้ำหนักลดก็จะดีขึ้น ซึ่งก็ทำให้ผู้ป่วยมะเร็งปอดใช้ชีวิตได้ตามปกติ แต่ไม่หาย

การรักษาโรคมะเร็งปอดขึ้นอยู่กับระยะของโรค, สภาพทั่วไปของผู้ป่วย, และชนิดของมะเร็งปอด นี่คือวิธีการรักษาหลัก:

การผ่าตัด: ใช้ในการเอามะเร็งออกจากปอด อาจรวมถึงการตัดเนื้อปอดบางส่วนหรือทั้งปอด

การทำเคมีบำบัด (Chemotherapy): ใช้ยาเพื่อฆ่าเซลล์มะเร็งหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของมัน

การทำรังสีบำบัด (Radiation Therapy): ใช้รังสีเพื่อฆ่าเซลล์มะเร็งหรือยับยั้งการเติบโตในพื้นที่ที่กำหนด

การรักษาด้วยยามุ่งเป้า (Targeted Therapy): ใช้ยาเฉพาะที่โจมตีเซลล์มะเร็งตามเป้าหมายทางชีวภาพที่เฉพาะ

การรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบำบัด (Immunotherapy): กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้จัดการกับเซลล์มะเร็ง

การรักษาประคับประคอง (Palliative Care): เน้นการบรรเทาอาการและปรับปรุงคุณภาพชีวิต

การรักษามักจะใช้หลายวิธีร่วมกันและต้องพิจารณาจากสถานการณ์เฉพาะของแต่ละบุคคล.

ควรใช้ชีวิตอย่างไรให้ห่างไกล...มะเร็งปอด

 1.หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่

 2.หลีกเลี่ยงการอยู่ในภาวะควันพิษเยอะ เช่นตามโรงงาน     อุตสาหกรรม

ปัจจุบันโรคโควิด-19 สามารถมีผลต่อผู้ป่วยมะเร็งปอดได้ในหลายวิธี:

เพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อ: ผู้ป่วยมะเร็งปอดอาจมีระบบภูมิคุ้มกันที่อ่อนแอลงหรือได้รับการรักษาที่ทำให้ภูมิคุ้มกันลดลง ซึ่งอาจเพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19

ผลกระทบจากการรักษามะเร็ง: การรักษามะเร็ง เช่น เคมีบำบัดหรือการทำรังสีบำบัด อาจทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอและทำให้การตอบสนองต่อการติดเชื้อโควิด-19 แย่ลง

การป่วยร่วม: ผู้ป่วยมะเร็งปอดอาจมีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปอด เช่น การทำงานของปอดที่ลดลง ซึ่งอาจทำให้โควิด-19 รุนแรงขึ้น

ความท้าทายในการรักษา: การติดเชื้อโควิด-19 อาจทำให้การรักษามะเร็งปอดต้องถูกเลื่อนหรือปรับเปลี่ยนตามความจำเป็น

การดูแลสุขภาพ: ความจำเป็นในการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโคโวิด-19 อย่างเคร่งครัด เช่น การสวมหน้ากากและการรักษาระยะห่าง เพื่อป้องกันการติดเชื้อ

หากคุณเป็นผู้ป่วยมะเร็งปอดและมีความกังวลเกี่ยวกับโควิด-19 ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับคำแนะนำที่เหมาะสมในการป้องกันและจัดการกับสถานการณ์.

การใช้สารอาหารบำบัด (nutritional therapy) สามารถเสริมสุขภาพได้หลายด้าน เช่น:

ปรับปรุงระบบภูมิคุ้มกัน: การรับสารอาหารที่สำคัญช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และช่วยป้องกันการติดเชื้อ
เพิ่มพลังงาน: การได้รับสารอาหารที่เหมาะสมช่วยเพิ่มพลังงานและลดความรู้สึกอ่อนเพลีย
ส่งเสริมสุขภาพทางเดินอาหาร: การบริโภคไฟเบอร์และสารอาหารที่ช่วยในการทำงานของลำไส้
การควบคุมน้ำหนัก: การเลือกสารอาหารที่เหมาะสมช่วยควบคุมความหิวและการเผาผลาญ
ลดความเสี่ยงจากโรคเรื้อรัง: การได้รับวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นสามารถลดความเสี่ยงจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและมะเร็ง


การรับประทานอาหารที่หลากหลายและมีสมดุลเป็นกุญแจสำคัญในการใช้สารอาหารบำบัดอย่างมีประสิทธิภาพ.

สารเซซามินSesamin เป็นอาหารบำบัดที่จัดอยู่ในกลุ่มNutraceutical

หรือเรียกว่าโภชนะบำบัด

นักวิจัยคนไทยได้ค้นพบเป็นครั้งแรกและเป็นข่าวโด่งดัง ถึงสรรพคุณของสารเซซามินSesaminดังนี้


เซซามิน(Sesamin)เข้าไปทำอะไรกับมะเร็งปอด

1.เซลล์มะเร็งคือเซลล์ที่อยู่ในร่างกายเราที่มีการแบ่งตัวเร็วมาก หลังจากที่เซลล์มะเร็งมีการกระจาย ตัวมันสามารถส่งสารที่ไปกระตุ้นให้เส้นเลือดแดงงอกเส้นเลือดใหม่ขึ้นมาที่ตัวก้อนมะเร็ง แล้วส่งอาหารจากทางเส้นเลือดเพื่อ

ไปเลี้ยงก้อนมะเร็ง

จากการศึกษาในหลอดทดลองจากห้องแลปพบว่า เซซามินSesamin สารสกัดงาดำไปปิดกั้นการสร้างเส้นเลือดใหม่ที่จะไปหล่อเลี้ยงเซลล์มะเร็ง ทำให้เซลล์มะเร็งไม่ได้รับอาหาร

2.เซซามินSesamin ไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้างสารIL2 ซึ่งสหรัฐอเมริกายอมรับว่าเป็นสารที่สามารถไปยับยั้งเซลล์มะเร็งได้ จะทำให้เม็ดเลือดขาวของเราทำงานได้ดีขึ้น และไปจัดการเซลล์มะร็งได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมากระตุ้นบนผิวเซลล์แล้วส่งสัญญาณเข้าไปภายในเซลล์มันถูกยับยั้งโดยสารเซซามินSesamin เป็นการอธิบายถึงกลไกภายในเซลล์วิจัยถึงระดับโมเลกุล


3.เซซามินSesaminยังไปทำให้เซลล์มะเร็งฝ่อและตาย เซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายถูกโปรแกรมมาให้เกิดขึ้นและมีอายุ และตายลง  ยกเว้นเซลล์มะเร็งที่มันสามารถมีอายุและเจริญเติบโตขยายเร็วมาก และมีมีการตาย เซซามินSesaminสามารถแก้โปรแกรมโดย

ทำให้เซลล์มะเร็งเข้าสู่โปรแกรม Cell Death หรือเรียกว่าทำให้เซลล์มะเร็งตายได้

สารสกัดเซซามินSesamin เข้าไปยับยั้งการทำงานของสารสื่ออักเสบชนิดIL-1 Beta โดยทีมนักวิจัยได้ทำการวิจัยในเซลล์กระดูกอ่อนที่กูกกระตุ้นด้วยIL-1 Beta และเซซามิน โดยทำการศึกษาในระดับโมเลกุล พบว่าสารเซซามินสามารถเข้าไปยับยั้งการออกฤทธิ์ของสารสื่ออักเสบ ชนิดIL-1 Beta ได้ จึงทำให้มีการลดลงของเอ็นไซม์MMp13 ที่ไปย่อยสลายคอลลาเจนและสารโมเลกุลอื่นในกระดูกอ่อนได้อย่างชัดเจน

สารเซซามินเข้าไปลดปริมาณการสร้าง หรือ สังเคราะห์ของสารสื่ออักเสบชนิดInterleukin-1 Beta และ Tumor Necrosis Factor-Alpha ได้ ผลจากการศึกษาวิจัย

โดยการกระตุ้นเม็ดเลือดขาว ด้วยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ H1N1ซึ่งเป็นผลทำให้มีการหลั่งสารสื่ออักเสบเป็นจำนวนมาก แต่เมื่อได้รับสารเซซามินSesamin ร่วมด้วย ปรากฏว่ามีการหลั่งสารสื่ออักเสบชนิด IL1-Betaลดลงอย่างชัดเจน ดังภาพแสดงในกราฟ

เมื่อทำการศึกษาวิจัยในอาสามัคร โดยให้กินแคปซูลงาดำ รำข้าวสีนิลและแป้งข้าวหอมมะลิ ที่ผ่านกระบวนการนึ่งพิเศษ ขนาดบรรจุ 500 mg.จำนวน 2 แคปซูลตอนเช้าและตอนเย็น 2 แคปซูล เป็นระยะเวลา 15 วัน เพื่อทำการตรวจสอบการแสดงออกของยีนต์ที่สร้างสารชีวโมเลกุลชนิด Interleukin-2(IL-2)และInterferon Gamma ซึ่งเป็นสารชีวโมเลกุลที่ผลิตขึ้นจากเม็ดเลือดขาว ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยกระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผลปรากฏว่าสามารถเพิ่มของCytokinesทั้งสองชนิดในเลือดอาสาสมัครทุกคน ดังแสดงในกราฟ

จากการศึกษาวิจัยในห้องปฏิบัติการทางชีวเคมี ในสัตว์ทดลองและในคน พบกลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของหรือฤทธิ์ทางยา ของสารเซซามินsesamin

สรุปดังนี้
เซซามินSesamin เป็นสารธรรมชาติ ต้านอนุมูลอิสระและภาวะ Oxidative Stress

เซซามินSesamin ต้านการอักเสบ(Anti-inflammation)โดยพบว่าสามารถยับยั้งการขบวนการอักเสบได้ โดยการไปยับยั้งที่เอ็นไซม์ delta-5-desaturase นอกจากนั้นยังสามารถยับยั้งการสร้าง และออกฤทธิ์ของสารสื่ออักเสบ ชนิด Imterleukin-1 Beta และTumor Necrosis Factor-Alpha

เซซามินSesamin ช่วยลดทั้งการสังเคราะห์ และการดูดซึมสารโคเลตเตอรอล

เซซามินSesamin สามารถทำให้เซลล์มะเร็งเข้าสู่กระบวนการ Apoptosis หรือขบวนการทางชีวเคมีที่ทำให้เซลล์มะเร็งตาย

เซซามินSesami สามารถยับยั้งการลุกลาม หรือขบวนการAngiogenesis ของมะเร็งบางชนิดได้

เซซามินSesamin กระตุ้นให้มีการสร้างสาร Interleukin-2(IL-2)และ InterFeron-Gamma(IFN-Gamma)จากเม็ดเลือดขาว

เซซามินSesamin ช่วยดูแลระดับไขมันในเลือดให้สมดุล

เซซามินSesamin ทำหน้าที่ช่วยเผาผลาญกรดไขมันผ่าน beta-Oxsidation

เซซามินSesamin ช่วยการทำงานของวิตามินE ชะลอวัย

เซซามินSesamin ทานได้ต่อเนื่องปลอดภัย

ใครบ้างที่ควรทานเซซามินSesamin

-ผู้ที่ต้องการดูแลสุขภาพและป้องกันความเสี่ยง
    -ผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรัง ที่ต้องทานยามาตลอดหลายปี
-ผู้ที่เตรียมตัวเข้ารับเคมีบำบัด  รับการฉายแสง
-ผู้ที่แพ้เคมีบำบัด  ทานอาหารไม่ได้ ท้องผูก แพ้
-ผู้สูงอายุต้องการทานเพื่อดูแลป้องกันข้อเสื่อม
-ผู้ป่วยที่ต้องการฟื้นฟูร่างกายให้แข็งแรง  และ
 -ส่งเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงช่วยลดความเสี่ยง

อ่านงานวิจัยรักษามะเร็งปอด คลิก

สอบถามเพิ่มเติม/ผลิตภัณฑ์ คลิก


โรคปอด #มะเร็งปอด #โควิด19 #ไอเรื้อรัง #ปอดอักเสบ #ปอดติดเชื้อ


 


บทความที่เกี่ยวข้อง
resveratrol
พบในผิวขององุ่นแดง เปลือกถั่วลิสง และผลไม้หลายชนิด คุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยลดการอักเสบและชะลอความเสื่อมของเซลล์ ช่วยการนอนหลับดีขึ้น
2 ธ.ค. 2024
มะเร็งตับ
คุณมีความเสี่ยงอยู่ไหม? ภัยร้ายที่คร่าชีวิตคนไทย อันดับ1 ในเพศชายอันดับ 5 ในเพศหญิง #มะเร็ง #ไวรัสตับอักเสบ #มะเร็งตับ #ไขมันพอกตับ #ตับแข็ง
22 ส.ค. 2024
อาการแรกเริ่ม
ภาวะกระทุ้งพิษ ร่างกายคนเรามีความแข็งแรงไม่เท่ากัน อาการขับพิษเมื่อครั้งแรกจึงไม่เท่ากันหรือไม่เหมือนกัน และอยู่ที่ว่าโรคประจำตัวของแต่ล่ะคน
17 เม.ย. 2024
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy